ผู้เขียน หัวข้อ: วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อราคายาง วันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557  (อ่าน 986 ครั้ง)

Rakayang.Com

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 84462
    • ดูรายละเอียด
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อราคายาง
วันพฤหัสบดีที่  17  กรกฎาคม  พ.ศ. 2557
ปัจจัย[/t][/t]
[/t]
วิเคราะห์
1. สภาพภูมิอากาศ
 
- มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามันและอ่าวไทยมีกำลังแรง ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณประเทศไทยตอนบนและโดยภาคใต้มีเมฆเป็นส่วนมากกับมี ฝนฟ้าคะนองกระจายเพิ่มขึ้น   ร้อยละ 60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่งกับมีลมแรงบางพื้นที่   ส่งผลกระทบต่อการกรีดยาง
 
2. การใช้ยาง
 
- บริษัท โรลส์ - รอยซ์ มอเตอร์ คาร์ส จำกัด เผยยอดจำหน่ายรถยนต์ทั่วโลกครึ่งปีแรกเติบโตขึ้นร้อยละ 33 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยยอดจำหน่ายของบริษัทฯ มีการเติบโตทุกทวีป โดยเฉพาะทวีปยุโรปมีการเติบโตกว่าร้อยละ 60 ขณะที่เอเชียแปซิฟิคมียอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นเกือบร้อยละ 40 และตะวันออกกลางกว่าร้อยละ   30 ส่วนสหรัฐฯ และจีน มียอดจำหน่ายเติบโตในอัตราเลข 2 หลัก และทวีปยุโรปประเทศที่มียอดจำหน่ายสูงสุดคือเยอรมนี ซึ่งมีการเติบโตเพิ่มขึ้น 2 เท่า
- สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจส่งเสริมและสนับสนุนการใช้งานวิจัยมาตรฐานยาง ธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ยางเพื่อกำหนดมาตรฐานกำหนดระยะเวลา   4 ป? ตั้งแต่ป? 2557 - 2561 โดยความร่วมมือดังกล่าวเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยยางธรรมชาติและ ผลิตภัณฑ์ยางประเภทต่าง   ๆ กำหนดมาตรฐานทั้งระดับประเทศหรือมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ระดับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน   (เออีซี )รวมถึงมาตรฐานระดับสากล (ไอเอสโอ) สร้างขีดความสามารถการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราไทย พร้อมกล่าวว่าป?จจุบันอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางเป?นหนึ่งในกลุ่มอุตสาหกรรมที่ มีมูลค่าการส่งออกในแต่ละป?ค่อนข้างสูง และไทยเป?นประเทศที่ส่งออกยางธรรมชาติมากที่สุดในโลก การลงนามจะช่วยเอื้อให้ผู้ประกอบการสามารถพัฒนาการผลิตสินค้าได้ตามข้อกำหนด ที่มีมาตรฐานระดับระหว่างประเทศไปจนถึงระดับสากล   เพิ่มมูลค่าการส่งออก คลัสเตอร์กลุ่มอุตสาหกรรมยางที่ ส.อ.ท. ตั้งเป?าไว้จากเดิมประมาณ   7 แสนล้านบาท เป?น 1 ล้านล้านบาท ภายในปี   2563 โดยตลาดส่งออกที่น่าสนใจ อาทิ อินโดนีเซีย เวียดนาม   มาเลเซีย และฟ?ลิปป?นส์ รวมถึงตลาดอาเซียนบวก 6 ประกอบด้วย   จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์
 
3. เศรษฐกิจโลก
 
-  ธนาคารกลางสหรัฐฯ   (เฟด) เปิดเผยในรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจ (Beige Book) ว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ กระเตื้องขึ้นทุกภูมิภาคในช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยการใช้จ่ายของผู้บริโภคมีความแข็งแกร่ง โดยในเดือนมิถุนายนและต้นเดือนกรกฎาคมกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน 12 เขต มี 5 เขตที่ขยายตัว ?ปานกลาง"   และ 7 เขตขยายตัว ?เล็กน้อย?
- กระทรวงแรงงานสหรัฐฯ   เปิดเผยว่า ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) เดือนมิถุนายนปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 เมื่อเทียบเป็นรายเดือน สูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ   0.3 และสูงกว่าเดือนพฤษภาคมที่ดัชนีหดตัวลงร้อยละ 0.2 ขณะเดียวกันดัชนี PPI เดือนมิถุนายนทะยานขึ้นร้อยละ   1.9 เมื่อเทียบเป็นรายปี ชะลอตัวลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับเดือนพฤษภาคมที่ขยายตัวร้อยละ 2.0 และเดือนเมษายนที่ขยายตัวร้อยละ 2.1
- การผลิตภาคอุตสาหกรรมสหรัฐฯ ขยายตัวปานกลางในเดือนมิถุนายน นับเป็นสัญญาณล่าสุดบ่งชี้ว่าการใช้จ่ายภาคธุรกิจและผู้บริโภคกระเตื้องขึ้น อย่างช้า ๆ แต่มั่นคงในช่วงไตรมาส 2
[/size]- ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) เปิดเผยว่า การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมิถุนายนปรับตัวขึ้นร้อยละ 0.2 หลังจากที่ขยายตัวร้อยละ 0.5 ในเดือนพฤษภาคม ขณะที่นักวิเคราะห์ส่วนหนึ่งคาดว่าการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมิถุนายนจะ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3
[/size]- ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) เปิดเผยว่า ในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม อุปสงค์ภายในประเทศมีปริมาณมากกว่าอุปทาน ซึ่งเป็นครั้งแรกในรอบเกือบ 6 ปี นับเป็นสัญญาณที่บ่งชี้ว่าราคาสินค้ากำลังปรับตัวขึ้น
[/size]- สำนักงานสถิติแห่งชาติจีน (NBS) เปิดเผยว่า ยอดจำหน่ายบ้านในจีนเดือนมิถุนายนปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 33 หลังจากบริษัทอสังหาริมทรัพย์ของจีนได้ปรับลดราคาบ้านลง เพื่อส่งเสริมยอดขาย ซึ่งมาตรการดังกล่าวช่วยกระตุ้นความต้องการซื้อบ้านของชาวจีน
 
[/size]4. อัตราแลกเปลี่ยน
 
[/size]- เงินบาทอยู่ที่ 32.14 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้น 0.04 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐ- เงินเยนอยู่ที่ 101.56 เยนต่อดอลล่าร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้น   0.16 เยนต่อดอลล่าร์สหรัฐ
 
[/size]5. ราคาน้ำมัน
 
[/size]- สัญญาน้ำมันดิบเวสต์เท็กซัส (WTI) ตลาด Nymex ส่งมอบเดือนสิงหาคม ปิดตลาดที่ 101.20 ดอลล่าร์สหรัฐต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้น   1.24 ดอลล่าร์สหรัฐต่อบาร์เรล เพราะได้รับแรงสนับสนุนจากสต๊อคน้ำมันดิบสหรัฐฯ ปรับตัวลดลงมากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้
 
[/size]6. การเก็งกำไร
 
[/size]- ราคาตลาด TOCOM ส่งมอบเดือนสิงหาคม อยู่ที่ 192.0 เยนต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้น   2.5 เยนต่อกิโลกรัม และส่งมอบเดือนธันวาคม อยู่ที่ 200.8 เยนต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้น   1.4 เยนต่อกิโลกรัม- ราคาตลาด SICOM เปิดตลาดที่ 202.7 เซนต์สหรัฐต่อกิโลกรัม   เพิ่มขึ้น 3.7 เซนต์สหรัฐต่อกิโลกรัม
 
[/size]7. ข่าว
 
[/size]- สมาคมผู้สร้างบ้านแห่งชาติสหรัฐฯ (NAHB) เปิดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้สร้างบ้านเดือนกรกฎาคมเพิ่มขึ้น 4 จุด   แตะ 53 จุด ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือนมกราคม เนื่องจากตลาดแรงงานแข็งแกร่งขึ้นจนทำให้ผู้สร้างบ้านเชื่อว่ามีแนวโน้มที่ จะขายบ้านได้มากขึ้น
 
[/size]8.   ข้อคิดเห็นของผู้ประกอบการ
 
[/size]- ราคายางปรับตัวมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากการที่ผลผลิตออกสู่ตลาดลดลงเนื่องจากภาวะฝนตกชุกในภาคใต้ในระยะนี้ ประกอบกับไม่มีปัจจัยใหม่ ๆ กระตุ้นตลาด
 
   [/size]แนวโน้ม ราคายางมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกับตลาดล่วงหน้าโตเกียว เพราะได้รับแรงสนับสนุนจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น และธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ได้เปิดเผยรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจ (Beige book) เกี่ยวกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่กระเตื้องขึ้นทุกภูมิภาคในช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม การแข็งค่าของเงินเยนยังเป็นปัจจัยกดดันราคายางได้ในระดับหนึ่ง
[/size]
[/size]
[/size]
[/size]ทีมวิเคราะห์สำนักงานตลาดกลางยางพาราสงขลา
[/td][/tr][/table]