ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 120 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

แนบไฟล์:
(Clear Attachment)
(แนบไฟล์เพิ่ม)
Restrictions: 4 per post, maximum total size 192KB, maximum individual size 128KB
Verification:
กรุณาพิมพ์ชื่อนี้ Rakayang เป็น???าษาไทย:

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: มกราคม 11, 2016, 09:18:42 AM »

"ชวน"ร่วมพิธีเปิด รง.แปรรูปยางพาราของชุมนุมสหกรณ์ชาวสวนยางสตูล
โดย MGR Online

10 มกราคม 2559 15:07 น.
"ชวน" แนะชาวสวนยางปลูกพืชเสริมชี้ให้รัฐใช้ม.44แก้คงไม่ได้
  (ภาพข่าวจาก โพสต์ทูเดย์)
นายชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี กล่าวแสดงความเห็นขณะเข้าร่วมพิธีเปิดโรงงานแปรรูปยางพาราของชุมนุมสหกรณ์ ชาวสวนยาง จำกัด ที่ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูลว่า เป็นนิมิตหมายที่ดีที่มีการรวมตัวกันของสหกรณ์ต่างๆ 16 แห่งของจังหวัดสตูลในการเพิ่มมูลค่ายางพาราในครั้งนี้ จนสำเร็จในก้าวหนึ่งไปได้ และเชื่อว่ารัฐบาลพร้อมจะยินดีสนับสนุนหากเกษตรกรมีการรวมตัวกันอย่างเข้ม แข็งในการฝ่าวิกฤตยางพารานี้ไปได้

           นายชวน กล่าวต่อไปว่า ขอให้กำลังใจเกษตรกรชาวสวนยางทุกคน และเชื่อว่าถึงเวลาแล้วที่ชาวสวนยาง ต้องเตรียมตัวเองให้พร้อมรับมือกับปัญหาราคายางที่ตกต่ำด้วยการปรับเปลี่ยน ตัวเอง ในการปลูกไม้ชนิดอื่นแซมสวนยาง เพื่อเป็นรายได้เสริม ไม่ว่าจะเป็น ต้นสะตอ ต้นลูกเนียง มังคุดหรือไม้ชนิดอื่น เพราะราคายางพาราที่ตกต่ำที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยภายนอกที่แก้ยากเชื่อว่า รัฐบาล พยายามแก้ไขแล้วแต่หากเกษตรกรไม่ปรับตัวเองจะอยู่อย่างยากลำบาก และได้มีโอกาสได้พบกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยได้ฝากให้ดูแลเกษตรกรภาคใต้เป็นกรณีพิเศษแล้วว่า เกษตรกรที่ภาคใต้ไม่เหมือนกับภาคอื่นที่ปลูกยางเป็นอาชีพเสริม โดยภาคใต้จะปลูกยางอย่างเดียวเป็นอาชีพหลักเมื่อยางราคาตกจึงประสบปัญหาตามๆ กัน

           อย่างไรก็ตาม โดยสมัยเป็นตนนายกรัฐมนตรีได้พูดเสมอขอให้หาไม้ชนิดอื่นมาปลูกไว้บ้างนอกจาก ยางพารา เนื่องจากขณะนี้ไม่เฉพาะบ้านเราที่ปลูกเท่านั้น ภาคอีสาน เหนือ ลาว มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ขณะนี้กำลังจะได้ขึ้นชื่อว่ามียางเยอะที่สุดในอาเซียน หากตลาดยางมีเยอะแน่นอนเกษตรกรจะพบปัญหาราคายางตกต่ำไปอีกแต่หากเราสามารถ รวมตัว แล้วจัดการแปรรูปยางพาราเหมือนกลุ่ม โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา จะสามารถเพิ่มรายได้มูลค่ายางพาราได้