ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: ธันวาคม 14, 2015, 12:14:20 PM »บริษัท อินฟินิตี้ เวลท์ ฟิวเจอร์ส จำกัด : รายงานภาวะยาง RSS3 รายวัน 14 ธันวาคม 2558
แนวโน้มวันนี้ : แนวโน้มสัปดาห์นี้มีโอกาสแกว่งแคบ รอผลประชุมธนาคารกลางสหรฐั ประเมินกรอบ 48.5-50 บาท
ปัจจัยพื้นฐาน :ราคายาง(RSS3)วานนี้ปรับลดลงเล็กน้อยโดยภาพรวมการเคลื่อนไหวของราคายางในสัปดาห์นี้นักลงทุนต่างจับตาดูการประชุมธนาคารกลางสหรัฐฯในวันที่ 15-16 ธันวาคม 2558 ซึ่งจะส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของตลาดเงินตลาดทุน และตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ อย่างไรก็ตามในภาพรวมราคายางรับปัจจัยจิตวิทยาเชิงบวกจาผลการประชุมของสภาไตรภาคียางพารา โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เปิดเผยถึงผลการประชุมระดับรัฐมนตรีของสภาไตรภาคียางพารา ณ ประเทศอินโดนีเซียว่า ที่ประชุมได้เห็นชอบร่วมกันเรื่องความร่วมมือในการกำหนดราคายางธรรมชาติ โดย ITRC จะศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการจำกัดการส่งออกเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางธรรมชาติปี 2559 ให้เสร็จภายใน 1 เดือน หรือภายในเดือนมกราคม 2559 และเห็นชอบการก่อตั้งตลาดกลางยางธรรมชาติระดับภูมิภาคให้เสร็จภายใน 3 เดือน ประกอบกับราคายางรับปัจจัยบวกจากการรายงานข้อมูลเศรษฐกิจจีนที่ระบุว่า ยอดค้าปลีกของจีนปรับตัวเพิ่มขึ้น 11.2% เมื่อเทียบเป็นรายปี ในเดือนพ.ย. ซึ่งเป็นระดับการขยายตัวที่สูงที่สุดของปีนี้ และผลผลิตมูลค่าเพิ่มภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นมาตรวัดทางเศรษฐกิจที่สำคัญของจีนขยายตัว 6.2% ในเดือนพ.ย. เพิ่มขึ้นจากระดับการขยายตัวที่ 5.6% ในเดือนต.ค.
อย่างไรก็ตาม ภาพรวมราคายางมีปัจจัยลบจากราคาน้า มันดิบในตลาดโลกที่ปรับลดลงต่อเนื่องต่า สุดในรอบเกือบ 7 ปี ที่ระดับ 35.5 ดอลลาร์สหรัฐ/บารเรล์ รวมทั้งเงินเยนที่แข็งค่าขึ้น
การวิเคราะห์(AFET) : จากกราฟรายวันดัชนียังอยู่ในสัญญาณทางเทคนิคที่ดี โดยดัชนียังอยู่ในรูปแบบกลับตัว Double Bottom ซึ่งมองว่าถ้าไม่หลุดแนวรับที่ 48.5 บาทลงมา ก็น่าเห็นดัชนีขึ้นไปทดสอบแนวต้านสาคัญที่ 52 บาท ประเมินแนวรับแรกที่ 48.5 บาท มีแนวรับถัดมาที่ 47.5 บาท มีแนวต้านแรกที่ 50 บาท มีแนวต้านสาคัญที่ 52 บาท
ผู้ที่มีสถานะซื้อ: ถือ หากดัชนีไม่หลุดแนวรับที่ 48.5 บาท
ผู้ที่มีสถานะขาย: ล้างสถานะหากดัชนีผ่านแนวต้านที่ 52 บาท
ผู้ที่จะเปิดสถานะใหม่: เปิดสถานะซื้อหากดัชนียืนเหนือแนวรับที่ 48.5 บาท
การวิเคราะห์(TOCOM) : จากกราฟรายวันดัชนียังอยู่ในสัญญาณทางเทคนิคที่ดี โดยดัชนียังอยู่ในรูปแบบกลับตัว Double Bottom ซึ่งมองว่าถ้าไม่หลุดแนวรับที่ 163 เยนลงมา ก็น่าเห็นดัชนีขึ้นไปทดสอบแนวต้านสาคัญที่ 175 และ 180 เยน ประเมินแนวรับแรกที่ 165 เยน มีแนวรับสาคัญที่ 163 เยน มีแนวต้านที่ 175 เยน แนวต้านสาคัญที่ 180 เยน
การวิเคราะห์(SHFE) : จากกราฟรายวันดัชนีอยู่ในสัญญาณเทคนิคเชิงบวก หลังจากที่ดัชนียืนเหนือแนวรับที่ เส้น SMA20 วันได้ โดยในระยะสั้นถ้าผ่านแนวต้านที่ 10,500 หยวนได้ก็น่าดัชนีขึ้นไปทดสอบแนวต้านสาคัญที่ 11,000 หยวน ประเมินแนวรับแรกที่ 10,000 หยวน และมีแนวรับถัดมาที่ 9,800 หยวน ซึ่งจะมีแนวต้านแรกที่ 10,500 หยวน และมีแนวต้านถัดมาที่ระดับ 11,000 หยวน
ข่าวและปัจจัยที่มีผลกระทบ :ที่มา : สถาบันวิจัยยาง , RYT9
1) จีนเผยการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ขยายตัว 1.3% ในช่วง 11 เดือนแรกของปี
2) จีนเผยการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรขยายตัว 10.2% ในระหว่างเดือนม.ค.-พ.ย.
3) จีนเผยยอดค้าปลีกขยายตัว 11.2% ในเดือนพ.ย.
4) จีนเผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัว 6.2% ในเดือนพ.ย.
5) จีนเผยดัชนี PPI เดือนพ.ย.หดตัว 5.9% เทียบรายปี
6) ภาวะตลาดน้ามัน: น้ามัน WTI ลบ 1.14 ดอลลาร์ ท่ามกลางอุปทานสูงเกินไป
7) ภาวะตลาดทองคานิวยอร์ก: ทองคาปิดบวก 3.7 ดอลลาร์ จากการอ่อนค่าของดอลลาร์
8.) ภาวะตลาดหุ้นนิวยอร์ก: ดาวโจนส์ปิดร่วง 309.54 จุด เหตุราคาน้ามันร่วงแรง
ขอบคุณบทวิเคราะห์จาก บริษัท อินฟินิตี้ เวลท์ ฟิวเจอร์ จำกัด สนใจลงทุนในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า ติดต่อ โทร 02-6543163-70
แนวโน้มวันนี้ : แนวโน้มสัปดาห์นี้มีโอกาสแกว่งแคบ รอผลประชุมธนาคารกลางสหรฐั ประเมินกรอบ 48.5-50 บาท
ปัจจัยพื้นฐาน :ราคายาง(RSS3)วานนี้ปรับลดลงเล็กน้อยโดยภาพรวมการเคลื่อนไหวของราคายางในสัปดาห์นี้นักลงทุนต่างจับตาดูการประชุมธนาคารกลางสหรัฐฯในวันที่ 15-16 ธันวาคม 2558 ซึ่งจะส่งผลต่อการเคลื่อนไหวของตลาดเงินตลาดทุน และตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ อย่างไรก็ตามในภาพรวมราคายางรับปัจจัยจิตวิทยาเชิงบวกจาผลการประชุมของสภาไตรภาคียางพารา โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เปิดเผยถึงผลการประชุมระดับรัฐมนตรีของสภาไตรภาคียางพารา ณ ประเทศอินโดนีเซียว่า ที่ประชุมได้เห็นชอบร่วมกันเรื่องความร่วมมือในการกำหนดราคายางธรรมชาติ โดย ITRC จะศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการจำกัดการส่งออกเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางธรรมชาติปี 2559 ให้เสร็จภายใน 1 เดือน หรือภายในเดือนมกราคม 2559 และเห็นชอบการก่อตั้งตลาดกลางยางธรรมชาติระดับภูมิภาคให้เสร็จภายใน 3 เดือน ประกอบกับราคายางรับปัจจัยบวกจากการรายงานข้อมูลเศรษฐกิจจีนที่ระบุว่า ยอดค้าปลีกของจีนปรับตัวเพิ่มขึ้น 11.2% เมื่อเทียบเป็นรายปี ในเดือนพ.ย. ซึ่งเป็นระดับการขยายตัวที่สูงที่สุดของปีนี้ และผลผลิตมูลค่าเพิ่มภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นมาตรวัดทางเศรษฐกิจที่สำคัญของจีนขยายตัว 6.2% ในเดือนพ.ย. เพิ่มขึ้นจากระดับการขยายตัวที่ 5.6% ในเดือนต.ค.
อย่างไรก็ตาม ภาพรวมราคายางมีปัจจัยลบจากราคาน้า มันดิบในตลาดโลกที่ปรับลดลงต่อเนื่องต่า สุดในรอบเกือบ 7 ปี ที่ระดับ 35.5 ดอลลาร์สหรัฐ/บารเรล์ รวมทั้งเงินเยนที่แข็งค่าขึ้น
การวิเคราะห์(AFET) : จากกราฟรายวันดัชนียังอยู่ในสัญญาณทางเทคนิคที่ดี โดยดัชนียังอยู่ในรูปแบบกลับตัว Double Bottom ซึ่งมองว่าถ้าไม่หลุดแนวรับที่ 48.5 บาทลงมา ก็น่าเห็นดัชนีขึ้นไปทดสอบแนวต้านสาคัญที่ 52 บาท ประเมินแนวรับแรกที่ 48.5 บาท มีแนวรับถัดมาที่ 47.5 บาท มีแนวต้านแรกที่ 50 บาท มีแนวต้านสาคัญที่ 52 บาท
ผู้ที่มีสถานะซื้อ: ถือ หากดัชนีไม่หลุดแนวรับที่ 48.5 บาท
ผู้ที่มีสถานะขาย: ล้างสถานะหากดัชนีผ่านแนวต้านที่ 52 บาท
ผู้ที่จะเปิดสถานะใหม่: เปิดสถานะซื้อหากดัชนียืนเหนือแนวรับที่ 48.5 บาท
การวิเคราะห์(TOCOM) : จากกราฟรายวันดัชนียังอยู่ในสัญญาณทางเทคนิคที่ดี โดยดัชนียังอยู่ในรูปแบบกลับตัว Double Bottom ซึ่งมองว่าถ้าไม่หลุดแนวรับที่ 163 เยนลงมา ก็น่าเห็นดัชนีขึ้นไปทดสอบแนวต้านสาคัญที่ 175 และ 180 เยน ประเมินแนวรับแรกที่ 165 เยน มีแนวรับสาคัญที่ 163 เยน มีแนวต้านที่ 175 เยน แนวต้านสาคัญที่ 180 เยน
การวิเคราะห์(SHFE) : จากกราฟรายวันดัชนีอยู่ในสัญญาณเทคนิคเชิงบวก หลังจากที่ดัชนียืนเหนือแนวรับที่ เส้น SMA20 วันได้ โดยในระยะสั้นถ้าผ่านแนวต้านที่ 10,500 หยวนได้ก็น่าดัชนีขึ้นไปทดสอบแนวต้านสาคัญที่ 11,000 หยวน ประเมินแนวรับแรกที่ 10,000 หยวน และมีแนวรับถัดมาที่ 9,800 หยวน ซึ่งจะมีแนวต้านแรกที่ 10,500 หยวน และมีแนวต้านถัดมาที่ระดับ 11,000 หยวน
ข่าวและปัจจัยที่มีผลกระทบ :ที่มา : สถาบันวิจัยยาง , RYT9
1) จีนเผยการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ขยายตัว 1.3% ในช่วง 11 เดือนแรกของปี
2) จีนเผยการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรขยายตัว 10.2% ในระหว่างเดือนม.ค.-พ.ย.
3) จีนเผยยอดค้าปลีกขยายตัว 11.2% ในเดือนพ.ย.
4) จีนเผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัว 6.2% ในเดือนพ.ย.
5) จีนเผยดัชนี PPI เดือนพ.ย.หดตัว 5.9% เทียบรายปี
6) ภาวะตลาดน้ามัน: น้ามัน WTI ลบ 1.14 ดอลลาร์ ท่ามกลางอุปทานสูงเกินไป
7) ภาวะตลาดทองคานิวยอร์ก: ทองคาปิดบวก 3.7 ดอลลาร์ จากการอ่อนค่าของดอลลาร์
8.) ภาวะตลาดหุ้นนิวยอร์ก: ดาวโจนส์ปิดร่วง 309.54 จุด เหตุราคาน้ามันร่วงแรง
ขอบคุณบทวิเคราะห์จาก บริษัท อินฟินิตี้ เวลท์ ฟิวเจอร์ จำกัด สนใจลงทุนในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า ติดต่อ โทร 02-6543163-70