ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 120 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

แนบไฟล์:
(Clear Attachment)
(แนบไฟล์เพิ่ม)
Restrictions: 4 per post, maximum total size 192KB, maximum individual size 128KB
Verification:
กรุณาพิมพ์ชื่อนี้ Rakayang เป็น???าษาไทย:

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: มิถุนายน 17, 2014, 04:56:56 PM »


?สนง.สงเคราะห์สวนยาง? ถ่ายทอดเทคโนโลยีปลูกยางแก่เกษตรกร จชต.
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์    17 มิถุนายน 2557 16:25 น.    
   


      
   
?สนง.สงเคราะห์สวนยาง? ถ่ายทอดเทคโนโลยีปลูกยางแก่เกษตรกร จชต.
   
      




?สนง.สงเคราะห์สวนยาง? ถ่ายทอดเทคโนโลยีปลูกยางแก่เกษตรกร จชต.


      
ปัตตานี - สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางจังหวัดปัตตานี จัดอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการดูแลบำรุงรักษาสวนยาง และการใช้ปุ๋ยเคมีในสวนยาง ตามโครงการปลูกยางในพื้นที่ว่างเปล่า เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
       
       วันนี้ (17 มิ.ย.) เมื่อเวลา 10.00 น. ที่ห้องประชุมโรงแรม ซี เอส ปัตตานี นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง ได้เป็นประธานเปิดการอบรม โครงการปลูกยางในพื้นที่ว่างเปล่า ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1,377 หมู่บ้าน กิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยี หลักสูตรการดูแลบำรุงรักษาสวนยาง และการใช้ปุ๋ยเคมีในสวนยาง โดยมี นายทหาร รัตนกาญจน์ ผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางจังหวัดปัตตานี กล่าวรายงาน มีเกษตรกรชาวสวนยางจากอำเภอโคกโพธิ์ สายบุรี และอำเภอเมืองปัตตานีเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 600 คน
       
       นายเชาว์ ทรงอาวุธ รองผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง กล่าวว่า การเดินทางมาครั้งนี้เพื่อติดตามการดำเนินงานของเกษตรกรในโครงการว่ามีปัญหาอุปสรรคอย่างไรบ้าง และแนวทางการพัฒนาในอนาคต รวมทั้งการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในสวนยาง นอกจากนี้ยังให้ความรู้เกี่ยวกับอาชีพเสริม เช่น การส่งเสริมการปลูกข้าวโพดฝักอ่อนโดยปลูกแซมในสวนยางที่ยังไม่เปิดกรีด
       
       ซึ่งหากเกษตรกรมีพื้นที่เพียง 5 ไร่ สามารถมีรายได้เดือนละ 35,000 บาท การลดต้นทุนการผลิต เป็นต้น นอกจากนี้ ยังได้มีการทดลองทำโรงงานต้นแบบแปรรูปยางพารา เช่น แผ่นยางปูพื้นสนามฟุตซอลแก่ชุมชนต่างๆ การนำมาเป็นส่วนผสมของวัสดุทำถนนลาดยางเพิ่มความทนทานของถนน เป็นต้น ซึ่งจะเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มมูลค่ายางพาราได้ในอนาคต